English Version
TW: mentions of sexual assault
Dear Asian Youth,
It’s summer. April 13th, Songkran Day, to be precise. People swarm the narrow streets of Bangkok, from Silom to Khao San Road, bodies sizzling and melting in the weather. Water guns, hoses and buckets splash, and spray. The whole country goes enthusiastically haywire. Hands and fingers go everywhere. It’s Thai New Year’s day; people are happy and ecstatic. But if happiness blinds the crowd, how elusive can touching, groping, and sexual assault be?
(Note that the previous sentence is a rhetorical question, but most of you know that answer to it, and the statistics are below.)
The topic of sexual assault during the annual Songkran Festival has hardly ever been acknowledged. The festival is viewed as a joyful and euphoric one, but it is also notorious for having fingers, hands and other body parts go in wrong and unwanted places. These sordid actions are intentionally excluded from conversations not because it’s elusive, but because it goes unnoticed by the general public.
During the exhaustive aftermath of the festival, women swarm the police stations. (Note that not all victims of sexual assault report their cases). The government, rooted with a deeply misogynist values, decides to see Songkran’s sexual assault cases as a crucial issue. Since they have an obligation to care about this, the government decides that they need to take action. Then, there’s an announcement. And all over the papers is the government’s stance on the horrors of Songkran Day. (Copied Verbatim)
BANGKOK POST: Don’t Dress Sexy, Says Government.
THE PHUKET NEWS: Don’t Dress Sexy, Says Government.
THAILAND NEWS: Don’t Dress Sexy, Says Government.
A myriad of Thai news outlets and studies prove that these actions occur more often than people think. They happen to more than half of the women at the festival, but they are ignorantly disregarded. A study shows that sixty percent of women who responded to a survey said that they were sexually harassed and assaulted during the Songkran Festival. And when an infinitesimal amount these cases are reported, authorities point their accusative fingers at the victim and use their fashion choices to justify their trauma.
The sexist problem-solving and conclusions don’t end here. Previously, the Thai government decided that banning “sexy dance moves,” “sexy pants” and “sexy muscles” would dramatically eradicate the existence of all sex crimes. And instead of arresting and fining those who commit sex crimes, people, mainly women, will be fined and arrested for publicizing their “sexy” dance moves and clothing.
Victim-blaming also exists outside the Songkran Festival. It is a recurring theme in sexual harassment conversations in several ASEAN (Association of Southeast Asian nation) countries. And a journalist for a renowned news outlet from Bangkok, The Nation, stated in an opinion article that, no sex crime case has ever gone to court, and legally, “sexual harassment doesn’t exist in Thailand.” Furthermore, the journalist also advised Thai women to either tolerate the unwanted sexual actions or quit their jobs if a coworker or boss sexually harasses them.
But the Thai government has underestimated the potential of women by believing that the release of poorly PR-ed headlines and lackluster problem-solving can silence half of the Thai population. And the current of these sexist and victim-blaming notions prompted the genesis of a nationwide campaign titled: #DontTellMeHowToDress.
The bombardment of these sexist claims and advice marks a dead end for victims of sexual assault in Thailand. However, with the establishment of the resonating campaign, #DontTellMeHowToDress, women have been more confrontational and confident to speak up and fight against the patriarchal society and system.
Cindy Sirinya Bishop, a Thai-American model and founder of the campaign, told UN Women that, “It just struck a chord in me. When I saw this warning, I was so angry that women were warned to dress appropriately, but men were not being told to behave.” She then posted a video stating that women should be allowed to dress however they want, and that sexual assault and harassment is never the woman’s fault.
In a flash, the video went viral and the campaign was established. Bishop went further and turned it into an exhibition inspired by the “What Were You Wearing?” exhibition previously displayed in the University of Kansas. Bishop’s exhibition showed the clothes women were wearing when they were sexually assaulted.
The clothes displayed in the exhibition include baggy T-shirts, tank tops, ankle-length pants, polo-neck shirts, knee-length shorts, uniforms and so on. If clothes deemed “sexy” are those that women get sexually assaulted in, aren’t all clothes “sexy”? Not only depicted in this exhibition, but also depicted everywhere, people can be sexually assaulted in any type of clothing. And if a visual representation of this isn’t enough, I am going to say it right here. Loud and clear.
Getting sexually assaulted is not the victim or their fashion choice’s fault. It is the assaulter’s.
To quote Cindy Sirinya Bishop, “Our culture is not one that is so confrontational, and it’s going to be a while until a woman comes out and names names or points a finger in the media. But over the last few months, I’ve seen women in Thailand begin to collectively speak out, sharing their stories and pushing back on this victim-blaming which previously has gone completely unchecked here.”
The #DontTellMeHowToDress campaign has been an inspiration for women all around Thailand and Southeast Asia, and it has brought light to issues surrounding women’s rights, sexual assault and the internalized misogyny in the patriarchal society. These issues have not been mentioned enough in Thailand, and there is a deficiency in educational resources. But as awareness is spread by women around the country, this progressiveness also needs to be embedded in the government’s values and societal norms.
- Yanitta Iew
Thai Translation
#DontTellMeHowToDress: ปืนฉีดน้ำ การจับ และ รัฐบาล
คำเตือน: บทความนี้มีการพาดพิงถึงการล่วงละเมิดทางเพศ
ช่วงฤดูร้อนในวันที่ 13 เมษายน ผู้คนชุมนุมกันบนถนนแออัดๆของเมืองกรุงเทพมากมาย ตั้งแต่ถนนสีลมไปยังถนนข้าวสาร เนื้อตัวเสียดสีกันและละลายในอากาศ ปืนฉีดน้ำ สายยาง และกาลามัง สาดน้ำกันทั่วเมือง ทั้งประเทศวุ่นวายแต่สนุกสนาน มือและนิ้วมือไปทั่วทุกที่ นี่คือวันปีใหม่ไทยที่ทุกคนรู้จัก ทุกคนมีความสุขและตื่นเต้น แต่ถ้าความสุขทำให้คนตาบอดไม่สามารถมองเห็นความจริงได้ และถนนแออัดขนาดนั้น การล่วงละเมิดทางเพศจะหายากยนาดไหนกัน?
(รู้ไว้ว่าคำถามข้างต้นไม่จำเป็นต้องการคำตอบจากผู้อ่าน แต่หลายคนคงจะรู้และพูดในใจว่าคุณรู้คำตอบ สถิติอยู่ด้านล่าง)
ในช่วงหลังสงกรานต์ ผู้หญิงทั้งหลายไปรุมสถานีตำรวจ (รู้ไว้ว่าเหยื่อของการล่วงละเมิดทางเพศ น้อยคนที่จะไปแจ้งตำรวจ) และรัฐบาลจึงตัดสินว่าการล่วงละเมิดทางเพศในช่วงสงกรานต์คือสิ่งที่สำคัญและร้ายแรงอย่างยิ่ง เนื่องจากรัฐบาลมีความจำเป็นจะต้องประพฤติเหมือนเขาเห็นและเอาใจใส่กับเหตุการณ์พวกนี้ เขาจึงเลือกที่จะพูดออกมาและให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ หลังจากนั้น มีการประกาศเกิดขึ้น และหนังสือพิมพ์ทั่วประเทศได้ตีพิมพ์ความคิดเห็นของรัฐบาล ดังนี้
“รัฐบาลได้ประกาศว่า อย่าแต่งตัวเซกซี่”
BANGKOK POST: Don’t Dress Sexy, Says Government.
THE PHUKET NEWS: Don’t Dress Sexy, Says Government.
THAILAND NEWS: Don’t Dress Sexy, Says Government.
นอกจากนี้การล่วงละเมิดทางเพศในช่วงสงกรานต์ถูกเมินไปบ่อยมาก และแทบจะไม่เคยถูกพูดถึง เทศกาลสงกรานต์มักจะถูกมองด้วยสายตาที่วัยเยาว์และสดใจ จึงละทิ้งสิ่งไม่ดีออกไปจากภาพลักษณ์ของเทศกาลนี้ นอกจากความสดใสและเฮฮาของสงกรานต์ เทศกาลนี้ได้ถูกประนามไว้ว่าเป็นช่วงที่มีมือ นิ้วมือ และอวัยวะต่างๆซ่อนเร้นลงไปในที่ๆไม่ควร สิ่งแย่ๆเหล่านี้ถูกละทิ้งจากการสนทนาไม่ใช่เพราะมันไม่เกิดขึ้น แต่เพราะไม่มีใครให้ความสนใจ
ไม่มีที่ไหนบนอินเทอร์เน็ตหรือสัญชาตญาณมนุษย์กล่าวไว้ว่าการล่วงละเมิดทางเพศเป็นสิ่งที่ไม่เกิดขึ้น การล่วงละเมิดทางเพศเกิดขึ้นกับผู้หญิงส่วนมากในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ร้อยละ 60 ของผู้หญิงด้วยซ้ำ และในเมื่อส่วนน้อยของผู้หญิงที่ถูกล่วงละเมิดไปแจ้งความ ผู้อาวุโสและผู้คนโดยรวมมักจะวางโทษไว้ที่เหยื่อ ด้วยเหตุผลที่ว่าเหยื่อได้แต่งตัวโป๊หรือเซ็กซี่
การแก้ปัญหาด้วยความคิดที่เหยียดเพศไม่ได้เริ่มและจบตรงนี้ ก่อนหน้านี้ รัฐบาลไทยได้สั่งห้าม “การเต้นท่าเซกซี่” “กางเกงเซ็กซี่” และ “กล้ามที่เซ็กซี่” เพราะว่าเขาคิดกันว่าการสั่งห้ามจะทำให้การล่วงละเมิดทางเพศเกิดขึ้นน้อยลง และแทนที่จะจับกุมหรือโทษคนที่ล่วงละเมิดคนอื่น เหยื่อมันจะถูกปรับหรือจับกุมแทน นอกจากนี้รัฐบาลก็ได้แต่งตั้งแคมเปญที่รณรงค์ให้ผู้หญิงแต่งตัวสุภาพมากขึ้น
การโทษเหยื่อก็เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน และมักจะถูกกล่าวถึงในการสนทนาเรื่องการล่วงละเมิดทางเพศในประเทศอาเซียน นักข่าวของหนังสือพิมพ์ชื่อดัง เนชั่น ท่านหนึ่งได้กล่าวว่า คดีล่วงละเมิดทางเพศทุกคดีไม่เคยถึงศาล และ “ไม่เคยพบ” การล่วงละเมิดทางเพศในเชิงกฎหมาย นอกจากนี้นักข่าวท่านนั้นได้แนะนำให้ผู้หญิงไทยอดทนกับการถูกล่วงละเมิดทางเพศหรือลาออกจากงานถ้าผู้ร่วมงานหรือเจ้านายได้กระทำสิ่งนี้
รัฐบาลไทยได้ดูถูกดูแคลนความสามารถของผู้หญิงไทยโดยการเชื่อว่าการเผยแพร่ข่าวที่ไร้สาระ พร้อมกับใช้การแก้ปัญหาที่น่าผิดหวัง จะสามารถปิดปากของผู้หญิงทั้งประเทศ และกระแสของความคิดเหยียดเพศพวกนี้ได้ปลุกใจให้แคมเปญ #DontTellMeHowToDress ถูกตั้งขึ้น
ข้อความและแนวคิดเชิงเหยียดเพศทำให้เหยื่อของการถูกล่วงละเมิดทางเพศรู้วึกเหมือนถูกขังอยู่ในเขาวงกฎที่มีแต่ทางตัน แต่ว่าหลังจากเเคมเปญ #DontTellMeHowToDress ได้ถูกตั้งขึ้น ผู้หญิงเริ่มจะกล้าพูดกล้าแสดงออกมากขึ้น และรวมตัวกันโค่นล้มสังคมปิตา
ซินดี้ สิรินยา บิชอพ นางแบบลูกครึ่งอเมริกัน-ไทยคนหนึ่งและผู้ก่อตั้งแคมเปญ ได้บอก UN Women ว่า “ปัญหานี้ได้ทำให้รู้สึกโกรธ และรู้สึกว่าผู้หญิงไม่ควรเป็นเพศที่จะต้องทำตามคำสั่งของผู้ชาย และผู้ชายควรจะรับผิดชอบบ้าง” หลังจากนั้น เขาได้โพสวีดีโอเกี่ยวกับปัญหานี้ลงไปในโซเชียลมีเดีย
วีดีโอนี้ไปได้ทั่วถึงคนทั่วประเทศในช่วงเวลาพริบตา และแคมเปญ #DontTellMeHowToDress ได้เกิดขึ้น ซินดี้ สิรินยาได้พัฒนาโครงการไปเป็นนิทรรศการที่ได้ไอเดียมาจาก “What Were You Wearing?” ของ University of Kansas
ในนิทรรศการนี้ได้จัดโชว์ชุดที่ผู้หญิงหลายๆคนได้ใส่อยู่ระหว่างการถูกล่วงละเมิดทางเพศ และเสื้อผ้าต่อไปนี้ประกอบไปด้วย เสื้อทีเชิร์ตหลวมๆ เสื้อกล้าม กางเกงยาวห้าส่วน เสื้อคอโปโล กางเกงขาสั้นยาวถึงเข่า ชุดนักเรียน และอื่นๆ
ถ้าเสื้อผ้าเซกซี่คือเสื้อผ้าที่ทำให้ผู้หญิงเป็นเหยื่อการล่วงละเมิดทางเพศ อย่างนี้เสื้อผ้าทุกอย่างก็ถูกจัดว่าเป็นเสื้อผ้าเซกซี่ ผู้หญิงสามารถถูกล่วงละเมิดทางเพศได้เมื่อไหร่ก็ได้ ระหว่างใส่เสื้อผ้าแบบไหนก็ได้ และถ้าสิ่งนี้ยังไม่ชัดเจนพอสำหรับคุณผู้อ่าน ฉันจะพูดออกมาตรงๆ
การถูกล่วงละเมิดทางเพศไม่ใช่ความผิดของเหยื่อหรือเสื้อผ้าที่เขาเลือที่จะใส่ มันคือความผิดของผู้ข่มขืน
ตามที่ซินดี้ สิรินยาได้กล่าวไว้: “วัฒนธรรมของเราไม่ใช่วัฒนธรรมที่มักจะเผชิญหน้าและป่าวประกาศออกมาว่าตัวเองโดนข่มขืน และจะต้องใช้เวลาสักพักหนึ่งก่อนที่ผู้หญิงคนหนึ่งจะออกมาชี้หน้าผู้กระทำผิด แต่ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา ดิฉันได้สังเกตว่าผู้หญิงไทยกล้าพูดกล้าแสดงออกมากขึ้น และต่อต้านความคิดที่เหยียดเพศไปด้วยกัน”
แคมเปญ #DontTellMeHowToDress เป็นแรงบันดาลใจให้ผู้หญิงทั่วประเทศไทยและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ และได้กระจายความรู้เกี่ยวกับปัญหาในสังคมที่เกี่ยวกับสิธิสตรี การล่วงละเมิดทางเพศ พฤติกรรมมุ่งร้ายต่อผู้หญิงที่คนในสังคมไม่รู้ตัว ในสังคมปิตา
เรื่องราวและปัญหาพวกนี้แทบไม่ได้ถูกกล่าวถึงในบทสนทนาทั่วไปเลย และประเทศไทยได้ให้ความรู้ไม่เพียงพอในเรื่องการเหยียดเพศ และการล่วงละเมิดทางเพศ ให้กับนักเรียนในทุกเพศทุกวัย ถึงแม้ผู้หญิงทั่วประเทศได้ร่วมมือกันให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาพวกนี้ แต่ความก้าวหน้าในทางสตรีนิยมก็จะต้องถูกฝังไว้ในความเชื่อของรัฐบาล สังคมและประชาชนไทยเช่นกัน
Cover Photo Source: @donttellmehowtodress on Twitter
Comments